อาจารย์ประจำ

ดร.พรทิพย์ วิมลทรง
ดร.พรทิพย์ วิมลทรง
อาจารย์

IMG_4992

ประวัติการศึกษา

  • วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม) สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม) สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

งานวิจัยที่สนใจ

  • การเพิ่มผลิตพลังงานไฮโดรเจนทางชีวภาพจากการใช้วัสดุนาโน
  • การจัดทำบัญชีก๊าซเรือนกระจกรายสาขาของเสีย

งานวิจัย

  • สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย. 2014. โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนแบบคาร์บอนต่ำ. 400 หน้า. เสนอต่อ องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน).
  • รัชต์นรินทร์ นิติศรวุฒิ และพรทิพย์ วิมลทรง. 2014. การจัดทำบัญชีก๊าซเรือนกระจกรายสาขาสำหรับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการหน่วยงานภาครัฐส่วนกลาง เรื่องการจัดทำบัญชีก๊าซเรือนกระจกสาขาของเสีย. 98 หน้า เสนอต่อ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน).
  • Rachnarin Nitisoravut and Pornthip Wimonsong. 2014. Greenhouse gas inventory manual in waste sector. (in English version) 73 pages. Proposed Thailand Greenhouse Gas Management Organization (TGO).

ผลงานตีพิมพ์

  • Wimonsong, P., Llorca, J., and Nitisoravut, R. (2013). Catalytic activity and characterization of Fe-Zn-Mg-Al hydrotalcites in biohydrogen production. International Journal of Hydrogen Energy, 38 (25), 10284-10292.
  • Wimonsong, P., Nitisoravut, R., Llorca, J. (2014). Application of Fe-Zn-Mg-Al-O hydrotalcites supported Au as active nano-catalyst for fermentative hydrogen production. Chemical Engineering Journal, 253, 148-154.
  • Wimonsong, P., Nitisoravut, R. (2014). Biohydrogen enhancement using highlyporous activated carbon. Energy & Fuels, 28 (7), 4554–4559.

ผลงานนำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติ

  • Wimonsong, P., and Nitisoravut, S. (2009). Pretreatment evaluation for enriching hydrogen producing bacteria from anaerobic mixed culture. The 2nd Thammasat University International Conference on Chemical,
    Environmental and Energy Engineering (TU-ChEEE), March 3-4, 2009. The Swissôtel Le Concorde Bangkok, Bangkok, Thailand.
  • Wimonsong, P., and Nitisoravut, S. (2009). Bio-hydrogen production from palm oil mill effluent using heat-enriched anaerobic miexed microflora. The World Renewable Energy Congress (WREC), May 18-23, 2009. BITEC, Bangkok, Thailand.
  • Sinluenam, S., Nakkamphan, R., Trakulsunti,Y., Wimonsong, P., Nitisoravut, R. (2011). Utilization of Biogas from Bio-Hydrogen Production for Algal Oil Cultivation. The Third Conference in Environmental Science,
    Engineering and Management (CESEM), March 14-15, 2011. Chulalongkorn University.
  • Wimonsong, P., and Nitisoravut, R. (2014). Comparison of different catalysts for fermentative hydrogen production. The 2014 3rd International Conference on Clean and Green Energy-(ICCGE), February 19-21, 2014. Hotel Royal, Singapore.
พลังงานไฮโดรเจน - วัสดุนาโน พลังงานไฮโดรเจน การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกสาขาของเสีย
นางกานต์ธิดา บุญมา
นางกานต์ธิดา บุญมา
อาจารย์
ประวัติการศึกษา
  • ศึกษาศาสตรบัณฑิต วิชาเอก วิทยาศาสตร์-ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
  • ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • กำลังศึกษาระดับปริญญาเอก สาขาศึกษาศาสตร์ วิชาเอกหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
สาขาที่มีความชำนาญพิเศษ
  • การสอนวิทยาศาสตร์ การสอนฟิสิกส์ หลักสูตร การเรียนการสอน ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเรียนการสอน
งานวิจัย
  • กานต์ธิดา บุญมา และ กรรณิการ์ นาคอยู่. ฐานเศรษฐกิจและทุนทางวัฒนธรรม อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ” การนำเสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ, 26-30 สิงหาคม, 2553 กรุงเทพฯ หน้า 131-146.
  • มนตรี สุขเลื่อง และกานต์ธิดา บุญมา. 2553. การสร้างวงจร Chaotic Oscillator โดยการใช้ทรานซิสเตอร์เพียงตัวเดียว. What Thai Electronics. กรุงเทพฯ. หน้า 95-98.
  • สมพร ศรีอาภานนท์, ชุติมา ทองสุข และ กานต์ธิดา บุญมา, 2554, “การสร้างแผนที่ชั้นน้ำบาดาลในพื้นที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี”, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
  • ชุติมา วิชัยดิษฐ กานต์ธิดา บุญมา และชัยนุสนธ์ เกษตรพงศ์ศาล, 2555, การพัฒนาวีดิทัศน์เพื่อการสอนปฏิบัติการฟิสิกส์ 1 เรื่องการเคลื่อนที่ใน 1 มิติ, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
  • ชุติมา วิชัยดิษฐ กานต์ธิดา บุญมา และสุพรรณิการ์ ศรีบัวทอง, 2556, การสร้างแบบทดสอบมาตรฐานวิชาฟิสิกส์ 1 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
  • ชัยนุสนธ์ เกษตรพงศ์ศาล ชุติมา วิชัยดิษฐ และ กานต์ธิดา บุญมา, 2557, การพัฒนากังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้าต้นแบบชนิดความหนาแน่นกระแสสูงแบบอนุกรมรวมขนาดกำลังผลิตการติดตั้งสูงสุด 4,000 วัตต์. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
  • ชัยนุสนธ์ เกษตรพงศ์ศาล ชุติมา วิชัยดิษฐ และกานต์ธิดา บุญมา, 2557, โครงการต้นแบบกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้า แนวแกนตั้งแบบเฟืองแพลนเนตตารี่ชนิดแม่เหล็กผกผันกับขดลวด. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
นางชุติมา วิชัยดิษฐ
นางชุติมา วิชัยดิษฐ
ประวัติการศึกษา
  • คุรุศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สถาบันราชภัฏสุราษฎร์ธานี
  • การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการสอนวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร
งานวิจัย
  • ชุติมา ทองสุข, 2554, ศักยภาพการบริการวิชาการของสาขาวิชาฟิสิกส์, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
  • สมพร ศรีอาภานนท์ ชุติมา ทองสุข และกานต์ธิดา บุญมา, 2554, การสร้างแผนที่ชั้นน้ำบาดาลในพื้นที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
  • มนตรี สุขเลื่อง สมพร ศรีอาภานนท์ และชุติมา ทองสุข, 2553, สร้างเสียง Sound Effect ด้วยวงจร Chaotic Oscillator, วารสาร What Thai Electronics, ปีที่ 5, ฉบับที่ 9, หน้า 149-152.
  • ชุติมา ทองสุข, 2553, คุณรู้จักดวงอาทิตย์มากน้อยแค่ไหน, วารสาร What Thai Electronics, ปีที่ 5, ฉบับที่ 11, หน้า 38-41.
  • ชุติมา วิชัยดิษฐ กานต์ธิดา บุญมา และชัยนุสนธ์ เกษตรพงศ์ศาล, 2555, การพัฒนาวีดิทัศน์เพื่อการสอนปฏิบัติการฟิสิกส์ 1 เรื่องการเคลื่อนที่ใน 1 มิติ, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
  • ชัยนุสนธ์ เกษตรพงศ์ศาล ชุติมา วิชัยดิษฐ และ กานต์ธิดา บุญมา, 2557, การพัฒนากังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้าต้นแบบชนิดความหนาแน่นกระแสสูงแบบอนุกรมรวมขนาดกำลังผลิตการติดตั้งสูงสุด 4,000 วัตต์, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
  • ชัยนุสนธ์ เกษตรพงศ์ศาล ชุติมา วิชัยดิษฐ และกานต์ธิดา บุญมา, 2557, โครงการต้นแบบกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้า แนวแกนตั้งแบบเฟืองแพลนเนตตารี่ชนิดแม่เหล็กผกผันกับขดลวด, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
นางสาวบุษยมาศ เหมณี
นางสาวบุษยมาศ เหมณี
อาจารย์
ประวัติการศึกษา

วิทยาศาสตรบัณฑิต (จุลชีววิทยา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

นายสมพร ศรีอาภานนท์
นายสมพร ศรีอาภานนท์
ประวัติการศึกษา
  • วิทยาศาสตรบัณฑิต (ศึกษาศาสตร์ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
  • วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษ (แตกต่างจากวุฒิการศึกษา)
  • ธรณีวิทยา
  • ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อบริหารจัดการข้อมูล
งานวิจัย
  • สมพร ศรีอาภานนท์, ชุติมา ทองสุข และ กานต์ธิดา บุญมา, 2554, การสร้างแผนที่ชั้นน้ำบาดาลในพื้นที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
  • กนกกานต์ ฐิติภรณ์พันธ์, อภินันท์ ฐิติภรณ์พันธ์, สมพร ศรีอาภานนท์ และสิริพร อุยสุย. 2555. การตรวจวัดความเข้มข้นแก๊สเรดอนภายในบ้านเรือน ในพื้นที่อำเภอพนมและอำเภอเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.